ไทยบันเทิง

🚧 โปรดทราบ เนื่องจากในตอนนี้ฐานข้อมูลของเรายังไม่สมบูรณ์ 😲😲 เนื่องจากระบบวิกิเป็นระบบที่ใหญ่และต้องมีฐานข้อมูลที่ครอบคลุม หากว่าท่านใดมีข้อมูลต้องการที่จะนำมาเผยแพร่ในฐานะมรดกทางภูมิปัญญาให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาเรียนรู้ ท่านสามารถล็อกอินผ่านบัญชี Facebook ได้โดยกดไปที่ Sign In with Facebook และร่วมพูดคุยกับเราได้ที่นี่ 🙋😉

READ MORE

ไทยบันเทิง
(https://waymagazine.org/movie-brainwash-1/)
ป้ายระบุ: การแก้ไขต้นฉบับปี 2560
(https://waymagazine.org/movie-brainwash-1/)
ป้ายระบุ: การแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัดที่ 74: บรรทัดที่ 74:
 
|}
 
|}
 
== '''Image Gallery & วีดีโอ''' ==
 
== '''Image Gallery & วีดีโอ''' ==
  +
<gallery columns="3" spacing="small" orientation="landscape" bordercolor="transparent" widths="195">
 
No-poster.jpg|
 
</gallery>
 
 
== '''เกร็ด''' ==
 
== '''เกร็ด''' ==
 
* ภาพยนตร์เรื่องนี้ถูกสั่งห้ามฉายโดยกองเซ็นเซอร์ (ในขณะนั้นกองเซ็นเซอร์สังกัดสันติบาลพระนคร) เนื่องจากมีฉากต้องห้าม หลังจากได้ฉายให้แก่คณะรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยของพระยารามราชบดีเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2493 ก็ได้มีคำสั่งให้แบนภาพยนตร์ทันที เนื่องจากฉากต้องห้ามดังกล่าวเป็นฉากแสดงกระบวนการปลุกปลั่นม็อบคนงานให้ลุกขึ้นประท้วงสไตรค์การทำงานเหมือง
 
* ภาพยนตร์เรื่องนี้ถูกสั่งห้ามฉายโดยกองเซ็นเซอร์ (ในขณะนั้นกองเซ็นเซอร์สังกัดสันติบาลพระนคร) เนื่องจากมีฉากต้องห้าม หลังจากได้ฉายให้แก่คณะรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยของพระยารามราชบดีเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2493 ก็ได้มีคำสั่งให้แบนภาพยนตร์ทันที เนื่องจากฉากต้องห้ามดังกล่าวเป็นฉากแสดงกระบวนการปลุกปลั่นม็อบคนงานให้ลุกขึ้นประท้วงสไตรค์การทำงานเหมือง
บรรทัดที่ 84: บรรทัดที่ 82:
 
* ฮวด ทองโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม เป็นตัวตั้งตัวตีวิ่งเต้นให้ภาพยนตร์เรื่องนี้ผ่านกองเซ็นเซอร์ เป็นที่รู้กันดีว่านายฮวดผู้นี้มีความนิยมเลื่อมใสในลัทธิคอมมิวนิสต์ นายฮวดได้ขออนุญาต นายควง อภัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในเวลานั้น ฉายภาพยนตร์เรื่องนี้ให้แก่บรรดาสมาชิกพรรคได้ชมในคืนวันที่ 7 พฤษภาคม 2493 [http://waymagazine.org/movie-brainwash-1/]
 
* ฮวด ทองโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม เป็นตัวตั้งตัวตีวิ่งเต้นให้ภาพยนตร์เรื่องนี้ผ่านกองเซ็นเซอร์ เป็นที่รู้กันดีว่านายฮวดผู้นี้มีความนิยมเลื่อมใสในลัทธิคอมมิวนิสต์ นายฮวดได้ขออนุญาต นายควง อภัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในเวลานั้น ฉายภาพยนตร์เรื่องนี้ให้แก่บรรดาสมาชิกพรรคได้ชมในคืนวันที่ 7 พฤษภาคม 2493 [http://waymagazine.org/movie-brainwash-1/]
 
<!--
 
<!--
 
<gallery columns="3" spacing="small" orientation="landscape" bordercolor="transparent" widths="195">
 
No-poster.jpg|
 
</gallery>
  +
 
== '''Image Gallery''' ==
 
== '''Image Gallery''' ==
 
<gallery type="slideshow" widths="400" position="center">
 
<gallery type="slideshow" widths="400" position="center">

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:49, 24 มีนาคม 2564

เหมืองระเบิด (2493)

No-poster
  • ชื่ออังกฤษ : The Explode Mine
  • ประเภท :
  • ผู้กำกับ :
  • บทประพันธ์ :
  • บทภาพยนตร์ : รัตนา อมาตยรัตนา
  • ผู้ถ่ายภาพ :
  • อำนวยการสร้าง : หม่อมเจ้าเจตนากร วรวรรณ
  • บริษัทผู้สร้าง : เจตนากรภาพยนตร์
  • วันที่เข้าฉาย : 14 เมษายน 2493 ฉายที่โรงภาพยนตร์พัฒนากร [1] / 7 พฤษภาคม 2493
  • ระบบถ่ายทำ : ภาพยนตร์ไทย ฟิล์ม 16 มม. ให้เสียงพากย์สด


เรื่องย่อ

เนื้อหาของภาพยนตร์เกี่ยวกับชีวิตที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมของเหล่าคนงานเหมืองในภาคใต้ของไทย [2]

นักแสดง

นักแสดง รับบทเป็น

Image Gallery & วีดีโอ

เกร็ด

  • ภาพยนตร์เรื่องนี้ถูกสั่งห้ามฉายโดยกองเซ็นเซอร์ (ในขณะนั้นกองเซ็นเซอร์สังกัดสันติบาลพระนคร) เนื่องจากมีฉากต้องห้าม หลังจากได้ฉายให้แก่คณะรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยของพระยารามราชบดีเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2493 ก็ได้มีคำสั่งให้แบนภาพยนตร์ทันที เนื่องจากฉากต้องห้ามดังกล่าวเป็นฉากแสดงกระบวนการปลุกปลั่นม็อบคนงานให้ลุกขึ้นประท้วงสไตรค์การทำงานเหมือง
  • เนื้อหาของภาพยนตร์เกี่ยวกับชีวิตที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมของเหล่าคนงานเหมืองในภาคใต้ของไทย บทภาพยนตร์เรื่องนี้เขียนโดย รัตนา อมาตยรัตนา ซึ่งเป็นนามแฝง เชื่อกันว่าเจ้าของนามแฝงนี้คือ กัณหา บูรณปกรณ์ ผู้แปลบทภาพยนตร์โฆษณาชวนเชื่อของโซเวียต
  • ฮวด ทองโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม เป็นตัวตั้งตัวตีวิ่งเต้นให้ภาพยนตร์เรื่องนี้ผ่านกองเซ็นเซอร์ เป็นที่รู้กันดีว่านายฮวดผู้นี้มีความนิยมเลื่อมใสในลัทธิคอมมิวนิสต์ นายฮวดได้ขออนุญาต นายควง อภัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในเวลานั้น ฉายภาพยนตร์เรื่องนี้ให้แก่บรรดาสมาชิกพรรคได้ชมในคืนวันที่ 7 พฤษภาคม 2493 [3]